ปรับแต่งการตั้งค่าการให้ความยินยอม

เราใช้คุกกี้เพื่อช่วยให้คุณสามารถไปยังส่วนต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำหน้าที่บางอย่าง คุณจะพบข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ทั้งหมดภายใต้หมวดหมู่ความยินยอมแต่ละประเภทด้านล่าง คุกกี้ที่ได้รับการจัดหมวดหมู่ว่า "จำเป็น" จะถูกจัดเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณ เนื่องจากมีความจำเป็นต่อการทำงานของฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์... 

ใช้งานอยู่เสมอ

คุกกี้ที่จำเป็นมีความสำคัญต่อฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์ และเว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์หากไม่มีคุกกี้เหล่านี้

คุกกี้เหล่านี้ไม่จัดเก็บข้อมูลที่สามารถระบุตัวบุคคลได้

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้แบบฟังก์ชันนอลช่วยทำหน้าที่บางอย่าง เช่น แบ่งปันเนื้อหาของเว็บไซต์บนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย รวบรวมความคิดเห็น และฟีเจอร์อื่นๆ ของบุคคลที่สาม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้วิเคราะห์ใช้เพื่อทำความเข้าใจวิธีการที่ผู้เยี่ยมชมโต้ตอบกับเว็บไซต์ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัด เช่น จำนวนผู้เข้าชม อัตราตีกลับ แหล่งที่มาของการเข้าชม ฯลฯ

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อทำความเข้าใจและวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิภาพหลักของเว็บไซต์ซึ่งจะช่วยให้สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีขึ้นแก่ผู้เยี่ยมชม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้โฆษณาใช้เพื่อส่งโฆษณาที่ได้รับการปรับแต่งตามการเข้าชมก่อนหน้านี้ และวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแคมเปญโฆษณา

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

สรุปปัจจัยถล่มหุ้นไทย – ส่อง 3 หุ้นมีดี

          หุ้นวิชั่น- ภาษีตอบโต้สหรัฐฯ จะเขย่าตลาดหุ้นไทยและต่างประเทศเพียงใด นักลงทุนควรเกาะติดข้อมูลอย่างใกล้ชิด รวมถึงหาโอกาสลงทุน ในจังหวะที่เหมาะสม จับตา 3 หุ้นแกร่งที่สามารถทนกระแสสงครามการค้าได้

          บล. กรุงศรี มองว่า กลยุทธ์การลงทุน: ประเมินสัปดาห์นี้ (8-11 เม.ย.2568) ดัชนีหุ้นไทยคาดจะแกว่งตัวในกรอบ “แนวต้าน 1143/1157 จุด รับ 1105/1084 จุดปัจจัยที่จะกำหนดการเคลื่อนไหวหลักๆ คือ การเจรจาต่อรองของรัฐบาลไทยกับสหรัฐประเด็นเรื่องการค้า หากชัดเจนการต่อรองทำให้คาด Risk Sentiment กรณีดังกล่าวน่าจะผ่านจุดเลวร้าย หากเจรจาได้จะลดผลกระทบต่อ GDP ไทย และความเสี่ยงกำไรตลาด ส่วนประเด็นอื่น ติดตามเงินเฟ้อ CPI สหรัฐฯ

          กลยุทธ์การลงทุนยังแนะนำเน้นไปที่หุ้น Domestic, กลุ่มจำหน่ายสินค้า+บริการจำเป็น (ค้าปลีก BJC ร.พ. BDMS สื่อสาร ADVANC) และกลุ่มได้ประโยชน์จากดอกเบี้ยขาลง การเงิน MTC หนี้สูง CPALL CPAXT

          หุ้นเด่นสัปดาห์นี้: แนะนำ 3 หุ้น ประกอบด้วย CPALL, BJC, BDMS ส่วนสัปดาห์ก่อน CPALL, CPAXT, BJC ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย -0.03% vs. ดัชนีฯที่ให้ผลตอบแทน -4.27%

• CPALL (TP25F-80.0): Deep Value + ผันผวนต่ำ + ลุ้น Treasury Stock

• BJC (TP25F-30.0): Deep Value (PBV < 1 เท่า) + ผันผวนต่ำ + ลุ้น Treasury Stock

• BDMS (TP25F-37.5) : Defensive + Deep Value + คาดกำไรสุทธิ +10%CAGR 25-27F

Investment Theme:

• Apr25 Best Picks: AOT, BA, BJC, HMPRO, MTC, PTT, SCC

• 2Q25F Stock Picks: BDMS, CPALL, MINT, KBANK, MTC, LH, ADVANC

MidSmall Cap Play: BCH, BTS, JMT, ERW, AMATA

สรุปปัจจัยที่มีผลต่อตลาดหุ้นไทย

• US Trade: 7 เม.ย. – 11 เม.ย. ติดตามท่าทีประเทศที่ได้รับผลกระทบมาตรการภาษีการค้าของสหรัฐฯ หากมีความคืบหน้าการเจรจาสหรัฐฯ และประเทศคู่ค้าจะหนุนสินทรัพย์เสี่ยง

• US CPI: 10 เม.ย. ติดตามรายงานเงินเฟ้อสหรัฐฯ คาดเงินเฟ้อทั่วไป +0.1%m-m, +2.6%y-y vs prev. +0.2%m-m, +2.8%y-y เงินเฟ้อพื้นฐานคาด +0.3%m-m, +3.0%y-y vs prev. +0.2%m-m, +3.1%y-y

• US Econ: 11 เม.ย. ติดตามดัชนีความเชื่อมั่น ม. มิชิแกน เม.ย.25 (เบื้องต้น) คาด 55.0 จุด vs prev. 57.0 จุด

• CH CPI: 10 เม.ย. ติดตามรายงานเงินเฟ้อ CPI จีน คาดเงินเฟ้อทั่วไป -0.4%m-m, +0.0%y-y vs prev. -0.2%m-m, -0.7%y-y

• JP Trade: 8 เม.ย. ติดตามรายงานดุลบัญชีเดินสะพัด ก.พ. คาดเกินดุล +3.733 ล้านล้านเยน vs prev. ขาดดุล -2.58 แสนล้านเยน

• Thai Trade war: ติดตามแนวทางเจรจาต่อรองมาตรการกีดกันการค้ากับสหรัฐฯ

• TH CCI: 10-15 เม.ย. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค มี.ค. 24 ไม่มีคาด vs prev. 57.8 จุด

• SET EPS: กำไรตลาดปี 25F อยู่ที่ 94.25 บาท ลดลง w-w กลุ่มหนุน คือ กลุ่มพลังงาน รับเหมา สื่อ ฯลฯ กลุ่มถ่วง คือ กลุ่ม ICT, การเงิน

• Fund Flow: สัปดาห์ที่แล้วเงินทุนไหลออก (หุ้น+พันธบัตร) ภูมิภาค Asia (exJ) -8022 ล้านเหรียญฯ ไทยเงินไหลเข้า +236 ล้านเหรียญฯ (ขายหุ้น -204 ล้านเหรียญฯ ซื้อพันธบัตร +440 ล้านเหรียญฯ) เงินบาทอ่อนค่า w-w ที่ 34.2 +/- บาท

          ตลาดหุ้นทั่วโลกผันผวนจากนโยบายภาษีเท่าเทียมสหรัฐ ที่เลวร้ายกว่าคาดไปมาก ขณะที่ไทยอยู่ในกลุ่มที่โดนเก็บโซนสูง 37% เป็นรองเฉพาะจีน 54% (ภาษีเดิมที่โดนเก็บเดิม+ภาษีเท่าเทียม) กระทบ SET ปรับลงรุนแรง

ตลาดหุ้นทั่วโลกในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา (31 มี.ค. – 4 เม.ย. 2568)

การเคลื่อนไหวรายตลาดหุ้นที่น่าสนใจดังนี้

สหรัฐ: ตลาดหุ้นสหรัฐแกว่งตัวขึ้นและปรับลงช่วงปลายสัปดาห์รับ

1. ความเสี่ยงเรื่องเงินเฟ้อสหรัฐจะเร่งขึ้น และผลกระทบที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจระยะสั้น จนอาจนำมาสู่ภาวะ Stagflation หลังสหรัฐประกาศใช้ภาษีเท่าเทียม (US Reciprocal Tariffs) เลวร้ายกว่าที่ตลาดคาดไว้มาก คือ โดนัลด์ ทรัมป์ประกาศเก็บภาษีนำเข้าพื้นฐานที่อัตรา 10% ต่อ (190 ทุกประเทศ มีผล 5 เม.ย.) (Universal Tariffs) โดยจะมีการเก็บภาษีเพิ่มเติมในอัตราที่สูงขึ้นกับหลายประเทศ เช่น จีน อินเดีย สหภาพยุโรป รวมถึงไทย

รายละเอียด: เวียดนาม 46%, ไทย 37%, จีน 34%, อินโดนีเซีย 32%, อินเดีย 26%, เกาหลีใต้ 25%, ญี่ปุ่น 24%, สหภาพยุโรป (EU) 20%

2. ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐออกมาผสมผสาน แต่ส่วนใหญ่ออกไปทางอ่อนแอ หนุนมุมมองความเสี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอย

i.) GDP: Fed Atlanta คาดการณ์ GDP สหรัฐงวด 1Q25 3.7%q-q จาก -2.8% มองผลจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค Michigan ที่ออกมาปลายสัปดาห์ต่ำสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 22

ii.) ฝั่งการลงทุน คือ รายงานการใช้จ่ายด้านการก่อสร้างเดือน ก.พ. +2.9%y-y, +0.7%m-m มากกว่าที่ตลาดคาด +0.3%m-m prev. +0.5%m-m ในเดือน ม.ค. แรงหนุนจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จำนองที่ปรับตัวลง

iii.) PMI ภาคผลิต (ISM) มี.ค. ลดลงอยู่ที่ 49.0 จุด ต่ำกว่าตลาดคาด 49.8 จุด prev. 50.3 จุด สอดคล้องกับสถาบัน S&P เดือนเดียวกันปรับลงที่ 50.2 จุด prev. 52.7 จุด

3.) ตลาดรอตัวเลขแรงงานสหรัฐ และการแสดงความคิดเห็นของประธาน Fed

ยุโรป: ตลาดหุ้นยุโรปแกว่งตัวลงตลอดสัปดาห์ จากความเสี่ยงการเติบโตของเศรษฐกิจโลก และยุโรปชะลอตัว และจากผลกระทบนโยบายภาษีของสหรัฐ คาดกระตุ้นเงินเฟ้อและกดดันต่อการดำเนินนโยบายการเงินในยุโรป โดยหุ้นกลุ่มที่กดดัชนีหลักๆ คือ กลุ่ม Health Care ฯลฯ

เอเชีย: ตลาดหุ้นเอเชียโดนแรงกดดันจากนโยบายภาษีนำเข้าสหรัฐ Reciprocal Tariff อิงตลาดหุ้นเกาหลีใต้ปรับลงมีข่าวลบตั้งแต่ต้นสัปดาห์ คือ การเมือง หลังศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้เผยว่าศาลจะมีคำพิพากษาคดีถอดถอนประธานาธิบดียุน ซอกยอล ในวันศุกร์นี้ (4 เม.ย.) หากศาลมีคำพิพากษาถอดถอน อดีตประธานาธิบดียุนจะถูกปลดจากตำแหน่งจะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ภายใน 60 วัน มองเป็นจิตวิทยาลบต่อตลาดหุ้นเกาหลีใต้ แม้จะมีปัจจัยบวกคือ รายงานยอดส่งออกของเกาหลีใต้เดือนมี.ค. +3.1%y-y สู่ระดับ 5.83 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการเพิ่มขึ้นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน แรงหนุนจากยอดส่งออก Semiconductor +11.9%y-y สู่ระดับ 1.31 หมื่นล้านดอลลาร์

ตลาดหุ้นญี่ปุ่นปรับตัวลงจากแนวโน้มเงินเยนที่แข็งค่า จากเงินไหลไปพักในมุมมองว่าเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย…

 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

'กสิกรไทย' คาดค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า กรอบ 33.50–34.20 บ./ดอลลาร์ฯ

'กสิกรไทย' คาดค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า กรอบ 33.50–34.20 บ./ดอลลาร์ฯ

ตลาดหุ้นกู้ไทยมีอะไรที่ควรจับตามอง [HoonVision x FynnCorp]

ตลาดหุ้นกู้ไทยมีอะไรที่ควรจับตามอง [HoonVision x FynnCorp]

[Vision Exclusive] แนะสะสมไม้แรก ใกล้จุด Bottom แล้ว

[Vision Exclusive] แนะสะสมไม้แรก ใกล้จุด Bottom แล้ว

Art Tokenization เปลี่ยนภาพวาดให้กลายเป็นสินทรัพย์ [Hoonvision x TokenX]

Art Tokenization เปลี่ยนภาพวาดให้กลายเป็นสินทรัพย์ [Hoonvision x TokenX]

ข่าวล่าสุด

ทั้งหมด